เพื่อความไม่ประมาท...อย่าเชื่อรัฐบาลชุดนี้ เชื่อไม่ได้
ยังไงก็ไม่เชื่อ ไว้ใจไม่ได้สักคน....
กรุงเทพ...ต้องเตรียมพื้นที่รับน้ำเอาไว้ก่อน คือเคลียร์คลองในกรุงเทพให้แห้งกิ๊ก...เลยนะครับ แล้วก็เตรียมพื้นที่ระบายน้ำสำรองไว้ด้วย (ให้นึกถึงพื้นที่คลองส่งน้ำที่มีพื้นที่แบ่งออกเป็นสองฝั่ง ฝั่งข้างบนและฝั่งข้างล่าง ลองนึกดูสิว่ายังมีพื้นที่ไหนที่สามารถรองรับปริมาณน้ำเพิ่มได้บ้าง จากปริมาณน้ำปกติ ให้สำรองพื้นที่ตรงนั้นไว้อย่าให้น้ำเข้าไป แต่เก็บไว้เป็นพื้นที่เผื่อเหลือเผื่อขาดเพื่อรอรับน้ำสำรองที่อาจท่วมเนื่องจากพื้นที่ในกรุงเทพระบายย้ำไม่ทัน)
กรุงเทพ...ต้องเตรียมพื้นที่รับน้ำเอาไว้ก่อน คือเคลียร์คลองในกรุงเทพให้แห้งกิ๊ก...เลยนะครับ แล้วก็เตรียมพื้นที่ระบายน้ำสำรองไว้ด้วย (ให้นึกถึงพื้นที่คลองส่งน้ำที่มีพื้นที่แบ่งออกเป็นสองฝั่ง ฝั่งข้างบนและฝั่งข้างล่าง ลองนึกดูสิว่ายังมีพื้นที่ไหนที่สามารถรองรับปริมาณน้ำเพิ่มได้บ้าง จากปริมาณน้ำปกติ ให้สำรองพื้นที่ตรงนั้นไว้อย่าให้น้ำเข้าไป แต่เก็บไว้เป็นพื้นที่เผื่อเหลือเผื่อขาดเพื่อรอรับน้ำสำรองที่อาจท่วมเนื่องจากพื้นที่ในกรุงเทพระบายย้ำไม่ทัน)
ความหมายของพระราชดำรัส
ท่านให้ระมัดระวังช่วงรอยต่อของคลองภายในกรุงเทพแต่ละคลองว่าความกว้างของคลองมันกว้างเท่าไหร่
กว้างกี่เมตรแล้วก็เปรียบเทียบช่วงรอยต่อดูสิว่าตรงไหนแคบหรือกว้างกว่ากัน เช่นคลองที่ 1 กว้าง 5 เมตร คลองที่ 2 กว้าง 3
เมตร แล้วสองคลองนี้มันต่อกันน้ำไหลมา
มันก็ต้องท่วมพื้นที่ตอนล่างของคลองแน่นอน
วิธีแก้ไม่ให้ท่วม คุณก็ไปเอาเครื่องผลักดันมาตั้งตรงรอยต่อของคลอง
เสร็จแล้วก็ลองคำนวณปริมาณไหลเข้า ไหลออก (จำลองจากโมเดลดูก็ได้) ดูซิว่าความถี่
ความไวของการไหลเป็นเท่าไหร่ (มันมีเครื่องวัดอยู่) ทีนี้ก็มาคำนวณหาค่าชดเชยเอาว่าจะต้องตั้งกี่เครื่อง..ก็คิดจะช่วงกว้าง
2 เมตรที่หายไป จากคลองที่ 1 น้ำไหลเท่าไหล เราก็ลบจาก 3 เมตรของน้ำที่ไหลออกไป
ผลก็จะได้ช่วงกว้างน้ำ ที่ขาดหายไปก็เท่ากับ 2 เมตรของคลองด้านบน
จากนั้นเราก็มาคำนวณกับเครื่องดันน้ำว่ามันดันด้วยความเร็วเท่าไหร่
ได้เท่าไหร่ ก็เทียบบัญญัติไตรยางค์ไป แล้วก็เอาเครื่องไปติดไว้ตรงรอยต่อ
พอน้ำไหลมา ก็ดันให้เร็วขึ้น ....ทางข้างหน้าต้องเป็นอย่างไร ต้องเรียบและโล่ง น้ำจะได้ไปไวไว ( เอาแค่นี้ก่อน
...แค่ว่าน้ำฝนตกลงมาแล้วกทม.เอาอยู่หรือเปล่า
...เพราะว่าน้ำในกทม.เขาถูกแบบไว้ระบายน้ำฝนส่วนเกินที่ท่วมพื้นที่ในกรุงเทพเท่านั้น
(ใช่ไม๊)
**
เขาไม่ได้มีคลองในกทม.ไว้รองรับน้ำจากภาคเหนือที่ไหลบ่าลงมานะครับ
น้ำเหนือเขาออกแบบทางไว้แล้วให้ระบายออกทางด้านข้าง
ก็คือเอาคลองรังสิตทั้งสายเลย เป็นฐาน
ซึ่งเห็นว่ารัฐบาลชุดนี้มีการสร้างกำแพงกั้นน้ำกั้นไว้ ประมาณว่ากำแพงกั้นน้ำที่กำลังทำใหม่อยู่ในขณะนี้นั่นเอง
แต่....มีกำแพงชั้นนี้แล้วก็ไม่ได้หมายความว่ากำแพงด้านนอกคุณจะไม่กั้น กำแพงด้านนอกคุณก็ต้องกั้น
เคยวางกระสอบก็ต้องวางกระสอบ (ไปเตรียมมาไว้เลย...กระสอบ อย่างไรก็ต้องได้ใช้
เพราะถ้าคุณไม่มีแผนกั้นน้ำที่เป็นแนววางกระสอบเดิม
แปลว่า...คุณจะปล่อยให้น้ำท่วมข้างนอกเหมือนปีก่อนเด๊ะๆ แต่
เขาได้ทำการกั้นพื้นที่สำคัญๆประเภทที่เป็น นิคมอุตสาหกรรม สถานที่ท่องเที่ยว...ทำหรือยัง มีมาตรการอย่างไร
(ขนของขึ้นที่สูงแล้วจะคนไปไว้ที่ไหน...เอาคนนอนแช่น้ำเหมือนปีก่อน
หรือจะให้เขาอยู่กันอย่างไร จะมีเรือกี่ลำจอดเป็นทางเข้าออกเพื่อการเดินทางกี่ลำคุณก็ว่าไป (ชาวบ้านเขาจะได้เตรียมตัวถูก)
แล้วก็ถ้าเป็นไปได้ ไปเตรียมพื้นที่คอนโดเอาไว้เลย 1 ชุด เอาสูงๆ
เอาหลายๆห้องด้วย แล้วข้างล่างสักชั้นที่
2 คุณก็เอาสะเบียงไปเก็บสะสมเอาไว้ เตรียมไว้ให้เป็นยุ้งข้าวเลย ถามว่าถ้าน้ำมา
เอาไม่อยู่จริงๆ คุณก็อพยพคนไปอยู่ที่นี่
เตรียมช่องทางการเดินทางไว้ให้เขาแล้วก็ประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า...ที่นี่มาอยู่ได้...มาอยู่ได้ถ้าน้ำท่วมบ้าน
ไม่ว่าที่ไหนก็ตาม ก็ให้มาอยู่ที่นี้
...ทำเป็นศูนย์ลี้ภัยเตรียมไว้ไม่เป็นเป็นหรือครับ
(เงินเบิกไปตั้งเยอะ...เอาไปทำอะไรหมด) ทำไมไม่เอาไปซื้อของ พวกที่นอนหมอนมุ้ง เสื้อผ้า (ก็เอาเท่าที่จำเป็น...จะรอของบริจาคอย่างเดียวไม่ได้
เพราะเวลาน้ำมา มันมาเยอะ ประชาชนก็วิ่งหัวชนกัน เจ้าหน้าที่ก็ไม่มี
...งานในส่วนนี้จะไม่มีคนรับผิดชอบ*** ตรงนี้เป็นช่องว่าง
คราวที่แล้วแก้ปัญหาโดยการใช้อาสาสมัคร คุณมั่นใจได้อย่างไรว่าเขาจะยังอยู่ที่เดิม รอให้คุณใช้ คุณแน่ใจได้อย่างไรว่าทรัพยากรจะมีเหมือนเดิม การขนส่ง ปูนทราย มีสแปรไว้แล้วหรือยัง......นี่มันการเตรียมการรองรับน้ำระดับตำนานเลยนะครับ คุณทำเล่นๆได้อย่างไร (ตกกระโหลกแตกดีมั้ย)
คราวที่แล้วแก้ปัญหาโดยการใช้อาสาสมัคร คุณมั่นใจได้อย่างไรว่าเขาจะยังอยู่ที่เดิม รอให้คุณใช้ คุณแน่ใจได้อย่างไรว่าทรัพยากรจะมีเหมือนเดิม การขนส่ง ปูนทราย มีสแปรไว้แล้วหรือยัง......นี่มันการเตรียมการรองรับน้ำระดับตำนานเลยนะครับ คุณทำเล่นๆได้อย่างไร (ตกกระโหลกแตกดีมั้ย)
ลำพังน้ำในกรุงเทพ น้ำท่วมเพราะฝนตกนั้นไม่เท่าไหร่
แต่ถ้ามีน้ำเหนือไหลลงมาทับด้วย ตัวใครตัวมัน ....ช่วยไม่ทันแล้ว นอนแช่น้ำไปได้เลย
เพื่อความปลอดภัย แผนกั้นน้ำต้องเริ่มวางตั้งแต่ก่อนน้ำเข้าอยุธยา
ไปสำรวจคลองดูเอาอยู่หรือเปล่า...ไม่ต้องไปดูก็รู้ เอาไม่อยู่
เพราะน้ำท่วมอยุธยาทุกปี ปีนี้ก็ต้องท่วม
แต่คุณป้องกันได้ ทำไมไม่ป้องกัน คุณลงพื้นที่ คุณไปดูอะไรมาบ้าง
ช่วงรอยต่อของแม่น้ำกับคลองในกรุงศรีอยุธยา ได้ไปสำรวจหรือยัง
มีมาตรการอะไรรองรับบ้าง
ถ้ามีน้ำท่วมจุดหนึ่งภายในกรุง คุณจะระบายน้ำไปทางไหน
...ตอบได้หรือยัง
เพราะว่าต้องไม่ลืมว่าแนวกั้นน้ำตอนนี้มันเปลี่ยนไปแล้ว
จากคันกั้นน้ำของนิคมอุตสาหกรรม ทีนี้ถ้าเอาไม่อยู่
ตัดพื้นที่ตรงอุตสหกรรมออก
น้ำจะมาเยอะกว่าปีก่อนอีก และก็สูงกว่าเดิมด้วย
เพราะอะไร....เพราะพื้นที่รับน้ำที่เคยเป็นนิคมอุตสาหกรรมเดิมที่น้ำเคยเข้าไปท่วมหายไปแล้ว
คุณจะเอาน้ำไปไว้ที่ไหน...จะระบายไปทางไหน จะสูบออกได้ตรงไหน บ้าง...ถ้าตรงนี้ตอบไม่ได้
ก็เสี่ยงนอนในน้ำเข้าไปอีก
...............
...............
ประเด็นสำคัญก็คือแนวคันกั้นน้ำทั้ง 2 ข้าง ทั้งทางฝั่งศิริราช และฝั่งตรงข้าม ปีที่แล้วทำกำแพงกระสอบทรายกี่ชั้น แล้วปีนี้เอากำแพงกระสอบทรายออก แล้วชดเชยด้วยอะไร กำแพงเหล็กเปล่าๆ หรืออะไร ไม่ต้องปูกระสอบแล้วแน่นะ หาญไปหรือเปล่า
ฝั่งตรงข้ามศิริราช วางกำแพงกั้นหรือยัง
สูงกี่เมตร คำนวณความสูงเผื่อปริมาณน้ำเหนือหรือยัง
เพราะเส้นเจ้าพระยานี้ต้องรับน้ำหมดทั้งจากฝั่งตะวันออกที่ไหลลงไปจากทางตอนเหนือ
แล้วปันให้ไหลออกมาทางซีกปทุมธานี
ผ่านคลองรังสิต เส้นนี้ต้องแข็งทั้งเส้น
ถามว่าทำไมต้องวางให้แข็ง เพราะระบบการบริหารจัดการน้ำของคุณเชื่อไม่ได้
เอาแน่อะไรไม่ได้สักอย่าง เลย
ให้การไปคนละทางสองทาง ยังหาจุดเชื่อมโยงทางน้ำไม่เจอเลย ถามว่ารู้ได้อย่างไร
ตอบว่ารู้ได้เพราะน้ำคุณไหลไม่มีความต่อเนื่อง
น้ำทุกวันนี้ที่ไหลจากเหนือลงไม่เป็นสาย
แต่จะกลายเป็นน้ำบ่า คือไหลมาเป็นหน้ากระดาน ไหลมาเป็นผืนๆ
แล้วถ้าน้ำส่วนนี้มาเจอกับน้ำในทุ่งที่คั่งอยู่เพราะน้ำฝน............อีก
เป็นอันจบข่าว หมดทางไป
ถามว่ารู้ได้อย่างไร
รู้จากข่าวภัยแล้งของคุณที่รายงานออกมาในแต่ละพื้นที่ไงครับ มันฟ้องว่าระบบชลประทานคุณไม่ดี ไม่มีมาตรฐาน
ไม่มีระบบชดเชยการส่งน้ำเลย
เพราะเป็นไปไม่ได้ที่น้ำล่างแห้ง แต่น้ำท่วมไหลมารวมกันตรงกลาง
แล้วบอกน้ำแล้งอยู่ตรงปลาย
...........รายงานอย่างนี้มันเป็นไปไม่ได้ ฟังรายงานข่าวจากพื้นที่น้ำแล้ง
ก็รู้แล้วว่าโกหก...เพราะมีน้ำท่วมในพื้นที่ภาคเหนือ แต่พอมาถึงช่วงปลายน้ำหรือตอนเหนือ แถบ
พิษณุโลก ข้ามมาฝั่งสุรินทร์ ศรีษะเกต
........ภาพมันบอกว่าคุณไม่ได้มีการระบายน้ำแบบคลองส่งคลอง หรือที่เราเรียกว่าคลองโยงน้ำ
เพราะถ้ามีระบบไหลตัวนี้รองรับน้ำอยู่ปัญหาน้ำแล้งจะต้องไม่มี ...แต่นี้มีทั้งที่น้ำในเขื่อนแห้งเกือบสนิท
แปลว่าคุณปล่อยน้ำออกหมด ไม่มีกักเก็บไว้ในระบบที่เป็นคลองส่งน้ำ ที่ทำไว้เป็นลำคลองสายเล็กๆ
ไม่มีแน่นอน
***คำถามคือน้ำท่วมแล้วน้ำหายไปไหน ............นี่สิข้อสงสัย ว่าน้ำหายไปไหน น้ำไม่ได้ไหลลงทะเล ไม่ได้อยู่ในแม่น้ำ ไม่ได้อยู่ในทุ่ง แล้วน้ำหายไปไหน เขื่อนก็ไม่มีน้ำ ถ้าน้ำไหลลงแม่น้ำมันก็ต้องไหลผ่านลำคลอง ไหลผ่านห้วยหนองคลองบึง แต่นี้น้ำหายไปเฉยๆ น้ำหายไปไหน ...สันนิษฐานได้ทางเดียวคือระบบส่งน้ำของคุณไม่มีความเชื่อมโยง มั่นใจ...ต้องมีบางจุดที่น้ำไหลออกทะเลไม่ได้ ไม่เช่นนั้นรายงานน้ำฝนจะต้องไม่ออกมาเป็นอย่างนี้...................ต้องมีคนโกหก 100 %
***คำถามคือน้ำท่วมแล้วน้ำหายไปไหน ............นี่สิข้อสงสัย ว่าน้ำหายไปไหน น้ำไม่ได้ไหลลงทะเล ไม่ได้อยู่ในแม่น้ำ ไม่ได้อยู่ในทุ่ง แล้วน้ำหายไปไหน เขื่อนก็ไม่มีน้ำ ถ้าน้ำไหลลงแม่น้ำมันก็ต้องไหลผ่านลำคลอง ไหลผ่านห้วยหนองคลองบึง แต่นี้น้ำหายไปเฉยๆ น้ำหายไปไหน ...สันนิษฐานได้ทางเดียวคือระบบส่งน้ำของคุณไม่มีความเชื่อมโยง มั่นใจ...ต้องมีบางจุดที่น้ำไหลออกทะเลไม่ได้ ไม่เช่นนั้นรายงานน้ำฝนจะต้องไม่ออกมาเป็นอย่างนี้...................ต้องมีคนโกหก 100 %
.......................................................................................................
แผนการระบายน้ำออกทะเลที่ขอนำเสนอ ก็คือใช้ 3 ช่องทางน้ำโดยกระจายน้ำเหนือให้ไหลแยกออกเป็น 2 ฝั่ง ฝั่งตะวันออก ลงแม่น้ำท่าจีน ที่ ฉะเชิงเทรา โดยไหลน้ำออกไปจากเส้นน้ำเหนือตอนกลาง ที่ไหลลงมารวมกันที่คลองรังสิตทั้งสาย ผ่านเข้าเส้นทางคลอง 3 วา 6 วา ตัดเข้าเส้นหนองจอก ให้น้ำไปไหลออกทางฝั่งตะวันออก คือไหลลงแม่น้ำบางปะกง ส่วนหนึ่ง
ตามเส้นทางนี้นะครับ
ระบบทางน้ำในกทม.ปทุมธานี
ระบบการชลประทานในกทม.และปริมณฑล
แผนการระบายน้ำออกทะเลที่ขอนำเสนอ ก็คือใช้ 3 ช่องทางน้ำโดยกระจายน้ำเหนือให้ไหลแยกออกเป็น 2 ฝั่ง ฝั่งตะวันออก ลงแม่น้ำท่าจีน ที่ ฉะเชิงเทรา โดยไหลน้ำออกไปจากเส้นน้ำเหนือตอนกลาง ที่ไหลลงมารวมกันที่คลองรังสิตทั้งสาย ผ่านเข้าเส้นทางคลอง 3 วา 6 วา ตัดเข้าเส้นหนองจอก ให้น้ำไปไหลออกทางฝั่งตะวันออก คือไหลลงแม่น้ำบางปะกง ส่วนหนึ่ง
ตามเส้นทางนี้นะครับ
ระบบทางน้ำในกทม.ปทุมธานี
ระบบการชลประทานในกทม.และปริมณฑล
ถ้าพิจารณาจากแผนที่ทางน้ำซึ่งแสดงถึงแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งไหลผ่านใจกลางกรุงเทพมหานคร
หรือถ้าเป็นสมัยก่อนเราจะบอกว่าเป็นเส้นแบ่งระหว่าง กทม.และกรุงธนบุรี
ทางทิศตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำท่าจีน
ซึ่งแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยา ที่จังหวัดอุทัยธานีไหลผ่านจังหวัดชัยนาท สุพรรณบุรี
นครปฐม และออกทะเลที่จังหวัดสมุทรสาคร
อาจเรียกชื่อต่างๆกันตามทางจังหวัดที่แม่น้ำสายนี้ไหลผ่านเมื่อไหลผ่าน
มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 325 กม.
ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำบางปะกง
ซึ่งกำเนิดจากแม่น้ำนครนายกและแม่น้ำปราจีนบุรีไหลมาบรรจบกันที่จังหวัดปราจีนบุรี
ไหลผ่านจังหวัดปราจีนบุรีและจังหวัดฉะเชิงเทรา มีความยาวทั้งหมด 230 กม.
จากแผนที่ข้างต้น ในเขตกทม.และปริมณพลจะมีคลองหลักๆจำนวนมาก ที่ได้ยินกันเกือบทุกวัน เช่น
ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา กทม.-
ฉะเชิงเทรา, กทม.- สมุทรปราการ
ระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำบางปะกง มี คลองแสนแสบ คลองประเวศน์บุรีรมย์
คลองสำโรง มีลักษณะทางกายภาพเกือบคู่ขนานกัน
ระหว่างคลองทั้งสามมีคลองเล็กๆขุดเชื่อมต่อเพื่อประโยชน์การระบายน้ำมากมาย
ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำท่าจีน ตั้งแต่จังหวัดปทุมธานี นนทบุรี กทม. และสมุทรปราการ มีคลองสำคัญๆ คือ คลองพระยาบรรลือ คลองพระพิมล คลองทวีวัฒนา คลองมหาสวัสดิ์ คลองภาษีเจริญ คลองมหาชัย คลองสรรพสามิต คลองสหกรณ์
แผนที่คูคลองในจังหวัดปทุมธานี
ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา
ส่วนจังหวัดปทุมธานี-ฉะเชิงเทรา มีคลองระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำนครนายก
แม่น้ำบางปะกง มี คลองเชียงรากน้อย คลองรังสิตประยูรศักดิ์ คลองหกวา คลองระพีพัฒน์
มี คลอง 1- คลอง 17 ขุดเชื่อมต่อระหว่างคลองระพีพัฒน์ คลองรังสิต และคลองหกวา
เหตุผล เพราะ ในส่วนนี้ ปีที่แล้วมีปัญหา 2-3 ข้อ แต่เป็นจุดอ่อนสำคัญทั้งหมดที่ทำให้น้ำล้อมกรุง ไล่ตั้งแต่ คันกั้นน้ำฝั่งกรุงเทพมหานคร ที่เป็นรอยต่อเชื่องระหว่าง คลอง 3 วา 6 วา ตอนล่าง ปีที่แล้วมีน้ำรั่วเข้ามาตลอดแนว ทำให้น้ำที่ควรไหลออกไปทางฝั่งทิศตะวันออก ที่ควรไปออกที่แม่น้ำบางปะกง ไหลวกกลับเข้ามาท่วมกรุงทพฝั่งแถบบางนา หนองจอก ทั้งแถบ
ซึ่งแต่เดิม พื้นที่ว่างตรงนี้มีโอกาสน้ำท่วมจากน้ำล้นจากคันกั้นน้ำแถบล่าง(เป็นช่วงน้ำไหลลงโค้งพอดี—จากแผนที่ ดังนั้นช่วงรอยหักตรงนี้เป็นรอยต่อสำคัญที่ต้องเอาเครื่องสูบและเครื่องดันน้ำไปตั้งไว้ในพื้นที่ให้ทำงานสลับกัน คือ ติดตั้งเพื่อจุดประสงค์ 1)ให้มีการผลักดันน้ำออกสู่ทะเล ให้เร็วและมากที่สุด 2) และรองรับสูบน้ำส่วนเกินที่ไหลรอดเข้ามาจากรอยรั่วบริเวณคันกั้นน้ฟันหลอ ในจุดต่างๆ ตรงส่วนนี้ แต่ตรงนี้สำคัญที่ตัวคันกั้นน้ำ ต้องระวังไม่ให้มีรอยรั่ว ไม่งั้นน้ำตรงนี้จะไหลเข้าท่วมกรุงเทพฝั่งตะวันออก พอป้องกันตรงนี้เสร็จแล้วก็ใช้วิธีบังคับด้วยแนวคันกั้นน้ำที่สร้างใหม่ เอาเป็นฐานรับน้ำตอนล่าง แล้วก็ปล่อยน้ำให้ไหลออกที่แม่น้ำบางปะกงกับแม่น้ำท่าจีน
(โดยไม่ให้น้ำไหลวกกลับมาท่วมกรุงเทพฝั่งตะวันออกด้านใน ไล่ตั้งแต่ ดอนเมือง สายไหม รามอินทรา มีนบุรี หนองจอก บางนาตราด-แถบลาดกระบัง ...ตรงนี้ก็จะไม่ท่วม ปีที่แล้วน้ำเข้าจุดนี้
เหตุผล เพราะ ในส่วนนี้ ปีที่แล้วมีปัญหา 2-3 ข้อ แต่เป็นจุดอ่อนสำคัญทั้งหมดที่ทำให้น้ำล้อมกรุง ไล่ตั้งแต่ คันกั้นน้ำฝั่งกรุงเทพมหานคร ที่เป็นรอยต่อเชื่องระหว่าง คลอง 3 วา 6 วา ตอนล่าง ปีที่แล้วมีน้ำรั่วเข้ามาตลอดแนว ทำให้น้ำที่ควรไหลออกไปทางฝั่งทิศตะวันออก ที่ควรไปออกที่แม่น้ำบางปะกง ไหลวกกลับเข้ามาท่วมกรุงทพฝั่งแถบบางนา หนองจอก ทั้งแถบ
ซึ่งแต่เดิม พื้นที่ว่างตรงนี้มีโอกาสน้ำท่วมจากน้ำล้นจากคันกั้นน้ำแถบล่าง(เป็นช่วงน้ำไหลลงโค้งพอดี—จากแผนที่ ดังนั้นช่วงรอยหักตรงนี้เป็นรอยต่อสำคัญที่ต้องเอาเครื่องสูบและเครื่องดันน้ำไปตั้งไว้ในพื้นที่ให้ทำงานสลับกัน คือ ติดตั้งเพื่อจุดประสงค์ 1)ให้มีการผลักดันน้ำออกสู่ทะเล ให้เร็วและมากที่สุด 2) และรองรับสูบน้ำส่วนเกินที่ไหลรอดเข้ามาจากรอยรั่วบริเวณคันกั้นน้ฟันหลอ ในจุดต่างๆ ตรงส่วนนี้ แต่ตรงนี้สำคัญที่ตัวคันกั้นน้ำ ต้องระวังไม่ให้มีรอยรั่ว ไม่งั้นน้ำตรงนี้จะไหลเข้าท่วมกรุงเทพฝั่งตะวันออก พอป้องกันตรงนี้เสร็จแล้วก็ใช้วิธีบังคับด้วยแนวคันกั้นน้ำที่สร้างใหม่ เอาเป็นฐานรับน้ำตอนล่าง แล้วก็ปล่อยน้ำให้ไหลออกที่แม่น้ำบางปะกงกับแม่น้ำท่าจีน
(โดยไม่ให้น้ำไหลวกกลับมาท่วมกรุงเทพฝั่งตะวันออกด้านใน ไล่ตั้งแต่ ดอนเมือง สายไหม รามอินทรา มีนบุรี หนองจอก บางนาตราด-แถบลาดกระบัง ...ตรงนี้ก็จะไม่ท่วม ปีที่แล้วน้ำเข้าจุดนี้
ข้อแนะนำเพิ่มเติม...
งบประมาณที่กู้ไป รัฐบาลน่าจะแบ่งมาซื้อเครื่องสูบน้ำติดตั้งไว้บริเวณปลายคลอง ปลายแม่น้ำ
และถ้าเป็นพื้นที่บริเวณปลายน้ำก็ควรเอาเครื่องสูบกับเครื่องดันไปติดตั้ง ในกรณีถ้าคิดว่าเอาอยู่ เพื่อช่วยให้เกษตรกรที่เขาทำนากุ้ง แถบชายทะเล ตรงนี้ ได้ไม่ต้องเจอกับปัญหาน้ำกร่อยเนื่องจากน้ำเหนือซึ่งเป็นน้ำจืดไหลมารวมกันกับน้ำทะเล แถบจังหวัดที่ขึ้นต้นด้วย สมุทร...ทั้งหลาย พอน้ำลง น้ำทะเลไม่หนุน ก็รีบผลัก และสูบออก น้ำจะได้ไม่ขังอยู่ในทุ่ง อย่างเช่นเป็นรอยต่อจากนครปฐมก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่น้ำเหนือจะมาตลบจากทางด้านหลังได้ ก็ใช้วิธีเดียวกันป้องกัน
ในปีที่แล้วน้ำท่วมตรงนี้ถ้าติดตั้งแบบนี้ไว้ก็บรรเทาความเสียหายได้เยอะ
****
ศักยภาพการระบายน้ำออกสู่ทะเลถ้าดูศักยภาพการระบายน้ำข้อมูลพื้นฐานจริงๆ จะเห็นว่าทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา จากพื้นที่ปทุมธานีถึงสมุทรปราการสามารถระบายน้ำลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยาได้ประมาณ 26 ล้านลบ.ม.ต่อวัน และสามารถระบายน้ำลงสู่แม่น้ำบางปะกงได้ประมาณ 21 ล้านลบ.ม.ต่อวัน และสามารถผันน้ำออกสู่อ่าวไทยโดยตรงได้ประมาณวันละ 25 ลบ.ม.ต่อวัน ส่วนทิศตะวันตกสามารถระบายลงสู่แม่น้ำท่าจีนได้วันละ 32.18 ล้านลบ.มต่อวัน (มติชน) แต่ในเชิงปฏิบัติจริงจะได้เท่าไรนั้นคงต้องดูปริมาณน้ำทั้งหมด และพิจารณาว่าควรจะผันน้ำออกที่บริเวณใดจึงจะทำให้น้ำออกสู่ทะเลได้เร็วที่สุดและสามารถลดแรงดันน้ำต่อกำแพงสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาด้วย
งบประมาณที่กู้ไป รัฐบาลน่าจะแบ่งมาซื้อเครื่องสูบน้ำติดตั้งไว้บริเวณปลายคลอง ปลายแม่น้ำ
และถ้าเป็นพื้นที่บริเวณปลายน้ำก็ควรเอาเครื่องสูบกับเครื่องดันไปติดตั้ง ในกรณีถ้าคิดว่าเอาอยู่ เพื่อช่วยให้เกษตรกรที่เขาทำนากุ้ง แถบชายทะเล ตรงนี้ ได้ไม่ต้องเจอกับปัญหาน้ำกร่อยเนื่องจากน้ำเหนือซึ่งเป็นน้ำจืดไหลมารวมกันกับน้ำทะเล แถบจังหวัดที่ขึ้นต้นด้วย สมุทร...ทั้งหลาย พอน้ำลง น้ำทะเลไม่หนุน ก็รีบผลัก และสูบออก น้ำจะได้ไม่ขังอยู่ในทุ่ง อย่างเช่นเป็นรอยต่อจากนครปฐมก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่น้ำเหนือจะมาตลบจากทางด้านหลังได้ ก็ใช้วิธีเดียวกันป้องกัน
ในปีที่แล้วน้ำท่วมตรงนี้ถ้าติดตั้งแบบนี้ไว้ก็บรรเทาความเสียหายได้เยอะ
****
ศักยภาพการระบายน้ำออกสู่ทะเลถ้าดูศักยภาพการระบายน้ำข้อมูลพื้นฐานจริงๆ จะเห็นว่าทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา จากพื้นที่ปทุมธานีถึงสมุทรปราการสามารถระบายน้ำลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยาได้ประมาณ 26 ล้านลบ.ม.ต่อวัน และสามารถระบายน้ำลงสู่แม่น้ำบางปะกงได้ประมาณ 21 ล้านลบ.ม.ต่อวัน และสามารถผันน้ำออกสู่อ่าวไทยโดยตรงได้ประมาณวันละ 25 ลบ.ม.ต่อวัน ส่วนทิศตะวันตกสามารถระบายลงสู่แม่น้ำท่าจีนได้วันละ 32.18 ล้านลบ.มต่อวัน (มติชน) แต่ในเชิงปฏิบัติจริงจะได้เท่าไรนั้นคงต้องดูปริมาณน้ำทั้งหมด และพิจารณาว่าควรจะผันน้ำออกที่บริเวณใดจึงจะทำให้น้ำออกสู่ทะเลได้เร็วที่สุดและสามารถลดแรงดันน้ำต่อกำแพงสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาด้วย
ทีนี้มาเจาะเส้นทางระบายน้ำฝั่งตะวันตก
เส้นแม่น้ำเจ้าพระยา เส้นนี้จะรับน้ำ เส้นคลองเปรม
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบ